วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

จัดทำโดย



จัดทำโดย



1นายไพรัตน์ กตัญญู เลขที่1 

นางสาว ณัฐริกา  สุระพงษ์ เลขที่ 21


นางสาว อาทิตยา  สวัสดี เลขที่ 22

นางสาว โชติสา  โสชัยยัง เลขที่ 24


วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ตัวอย่างคำสนธิ



ตัวอย่างคำสนธิ

นครินทร์
ราโชวาท
ราชานุสรณ์
คมนาคม
ผลานิสงส์
ศิษยานุศิษย์
ราชินยานุสรณ์
สมาคม
จุลินทรีย์
ธนคาร
มหิทธิ
นภาลัย
ธนาณัติ
สินธวานนท์
หิมาลัย
ราชานุสรณ์
จุฬาลงกรณ์
มโนภาพ
รโหฐาน
สงสาร
หัสดาภรณ์
จักขวาพาธ
หัตถาจารย์
วัลยาภรณ์
นโยบาย
อินทรธิบดี
มหัศจรรย์
มหรรณพ
มหานิสงส์
ดรุโณทยาน
ภยาคติ
บรรณารักษ์
เทพารักษ์
ทันตานามัย
วโรดม
สินธวาณัติ
ศิลปาชีพ
ปรเมนทร์
ทุตานุทูต
นเรศวร
กุศโลบาย
ราโชบาย
ชลาลัย
สุโขทัย
สังคม
สมาทาน
สุริโยทัย
ขีปนาวุธ
บดินทร์
พนาลัย
อนามัย
สังหรณ์
กินนรี
สโมสร
กาญจนามัย
พลานามัย
นิรภัย
คณาจารย์
มีนาคม
มกราคม
กุมภาพันธ์
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
ทุรชาติ
ยโสธร
อมรินทร์
หัสดินทร์
มนินทร์
มหินทร์
อายุรเวช
อุปรากร
ทรัพยากร
วราภรณ์
จุฬาภรณ์
ราชูปโภค
ราชินทร์เคหาภิบาล
สุรางค์
คงคาลัย
จินตนาการ
วิทยาการ
หัสดินทร์
มัคยาจารย์
หัตถาจารย์
รังสิโยภาส
นีโลตบล
โภไคศวรรย์
บดินทร์
นิราพาธ
สมณาจารย์
ราชินูปถัมภ์
วิเทโศบาย
กตัญชลี
สัมปทาน 

คำสนธิ



คำสนธิ คือการสมาสโดยการเชื่อมคำเข้าระหว่างพยางค์หลังของคำหน้ากับพยางค์หน้าของคำหลัง เป็นการย่ออักขระให้น้อยลงเวลาอ่านจะเกิดเสียงกลมกลืนเป็นคำเดียวกัน
       หลักสังเกตคำสนธิในภาษาไทย 
การสนธิแบ่งเป็น ประเภท คือ 1. สระสนธิ 2. พยัญชนะสนธิ 3. นฤคหิตสนธิ        1. สระสนธิ คือการนำคำที่ลงท้ายด้วยสระไปสนธิกับคำที่ขึ้นค้นด้วยสระ ซึ่งเมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระตามกฏเกณฑ์
       - ตัดสระพยางค์ท้ายคำหน้า แล้วใช้สระพยางค์หน้าคำหลัง เช่น
ราช + อานุภาพ
=
ราชานุภาพ
สาธารณ + อุปโภค
=
สาธารณูปโภค
นิล + อุบล
=
นิลุบล
       - ตัดสระพยางค์ท้านคำหน้า และใช้สระพยางค์ต้นของคำหลัง โดยเปลี่ยนสระพยางค์ต้นของคำหลัง
อะ
เป็น
อา
อิ
เป็น
เอ
อุ
เป็น
อู
อุอู
เป็น
โอ
      เช่น
พงศ + อวตาร
=
พงศาวตาร
ปรม + อินทร์
=
ปรเมนทร์
มหา + อิสี
=
มเหสี
     - เปลี่ยนสระพยางค์ท้ายของคำหน้าเป็นพยัญชนะ คือ
อิ อี
เป็น
อุ อู
เป็น
      ใช้สระพยางค์ต้นของคำหลังซึ่งอาจเปลี่ยนรูปหรือไม่เปลี่ยนรูปก็ได้ ในกรณีที่สระพยางค์ต้นของคำหลังไม่ใช่ อิ อี อุ อู อย่างสระตรงพยางค์ท้ายของคำหน้า เช่น
กิตติ + อากร
=
กิตยากร
สามัคคี + อาจารย์
=
สามัคยาจารย์
ธนู + อาคม
=
ธันวาคม
      คำสนธิบางคำไม่เปลี่ยนสระ อิ อี เป็น ย แต่ตัดทิ้ง ทั้ง สระพยางค์หน้าคำหลังจะไม่มี อิ อี ด้วยกัน เช่น
ศักคิ + อานุภาพ
=
ศักดานุภาพ
ราชินี + อุปถัมภ์
=
ราชินูปถัมภ์
หัสดี + อาภรณ์
=
หัสดาภรณ์
      2. พยัญชนะสนธิ คือการเชื่อมคำด้วยพยัญชนะเป็นการเชื่อมเสียง พยัญชนะในพยางค์ท้ายของคำแรกกับเสียงพยัญชนะหรือสระในพยางค์แรก ของคำหลัง เช่น
      -สนธิเข้าด้วยวิธี โลโป คือลบพยางค์สุดท้ายของคำหน้าทิ้ง เช่น
นิรส + ภัย
=
นิรภัย
ทุรส + พล
=
ทุรพล
อายุรส + แพทย์
=
อายุรแพทย์
      -สนธิเข้าด้วยวิธี อาเสโท คือแปลงพยัญชนะท้ายของคำหน้า เป็นสระ โอ แล้วสนธิตามปกติ เช่น
มนส + ภาพ
=
มโนภาพ
ยสส + ธร
=
ยโสธร
รหส + ฐาน
=
รโหฐาน
      3. นฤคหิตสนธิ คือ การเชื่อมคำด้วยนฤคหิต เป็นการเชื่อมเมื่อพยางค์หลังของคำแรกเป็นนฤคหิตกับเสียงสระในพยางค์แรกของคำหลัง มี 3 วิธี คือ
      1. นฤคหิตสนธิกับสระ ให้เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ม แล้วสนธิกัน
           เช่น สํ + อาคม = สม + อาคม = สมาคม
                  สํ + อุทัย = สม + อุทัย = สมุทัย
      2. นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะของวรรค ให้เปลี่ยนนฤคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของพยัญชนะในแต่ละวรรค ได้แก่
                  วรรคกะ เป็น ง
                  วรรคจะ เป็น ญ
                  วรรคตะ เป็น น
                  วรรคฏะ เป็น ณ
                  วรรคปะ เป็น ม
           เช่น สํ + จร = สญ + จร = สัญจร
    

              สํ + นิบาต = สน + นิบาต = สันนิบาต
      3. วรรคกะ เป็นสนธิกับพยัญชนะเศษวรรค ให้เปลี่ยนนฤคหิต เป็น ง
          เช่น สํ + สาร = สงสาร
                  สํ + หรณ์ = สังหรณ์



ตัวอย่างคำสมาส

กรรมการ              อ่านว่า      กำ-มะ-กาน  (มาจากคำว่า กรฺม + การ)

คณบดี                 อ่านว่า      คะ-นะ-บอ-ดี  (มาจากคำว่า คณ + ปติ)

จิตรกร                 อ่านว่า      จิต-ตฺระ-กอน  (มาจากคำว่า จิตร + กร)

เจตคติ                 อ่านว่า      เจ-ตะ-คะ-ติ 

ชนบท                  อ่านว่า      ชน-นะ-บด  (มาจากคำว่า ชน + ปท)

ประถมศึกษา          อ่านว่า         ประ-ถม-มะ-สึก-สา 

ประวัติศาสตร์        อ่านว่า         ประ-หวัด-ติ-สาด

มนุษยชน              อ่านว่า         มะ-นุด-สะ-ยะ-ชน

มัธยมศึกษา            อ่านว่า         มัด-ทะ-ยม-มะ-สึก-สา

มาตรฐาน              อ่านว่า         มาด-ตฺระ-ถาน

รัฐมนตรี               อ่านว่า         รัด-ถะ-มน-ตฺรี

วิทยบริการ            อ่านว่า         วิด-ทะ-ยะ-บอ-ริ-กาน 

วิกฤตการณ์           อ่านว่า         วิ-กฺริด-ตะ-กาน

สัตวแพทย์             อ่านว่า         สัด-ตะ-วะ-แพด 

สาธารณภัย            อ่านว่า         สา-ทา-ระ-นะ-ไพ

อุทกภัย                อ่านว่า         อุ-ทก-กะ-ไพ

คำสมาสบางคำไม่อ่านออกเสียงสระท้ายพยางค์ของคำหน้า  (ไม่อ่านออกเสียงอย่างสมาส)

         คำที่เป็นชื่อจังหวัด  ไม่อ่านออกเสียง  “อะ”  ท้ายพยางค์ของคำหน้า  ตัวอย่างเช่น  ชลบุรี  ชัยนาท  นครพนม  นครสวรรค์ปทุมธานี  ปราจีนบุรี  ลพบุรี  สกลนคร  สมุทรปราการ    สมุทรสงคราม  สมุทรสาคร  สุพรรณบุรี   อุดรธานี   อุทัยธานี 

         ชื่อจังหวัดที่ต้องออกเสียงอย่างสมาส  อ่านออกเสียง  “อะ”  ท้ายพยางค์ของคำหน้า  ตัวอย่างเช่น  

         เพชรบุรี    อ่านว่า  เพ็ด-ชะ-บุ-รี    

         เพชรบูรณ์  อ่านว่า  เพ็ด-ชะ-บูน  

         ราชบุรี      อ่านว่า   ราด-ชะ-บุ-รี


คำที่อ่านอย่างสมาสแต่ไม่ใช่คำสมาส  

         นอกจากนี้ยังมีคำที่ไม่ใช่คำสมาสแต่อ่านอย่างสมาส  (เป็นเพราะว่ามีคำหนึ่งมาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต และมีอีกคำหนึ่งที่มาจากภาษาไทยแท้หรือภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาดังกล่าว)  ทั้งหมดนี้จัดว่าเป็นเป็นคำประสมซึ่งเป็นวิธีสร้างคำของไทย  ตัวอย่างคำ

กรมขุน        อ่านว่า  กฺรม-มะ-ขุน 

กรมท่า        อ่านว่า  กฺรม-มะ-ท่า 

กรมพระ      อ่านว่า  กฺรม-มะ-พฺระ

กรมวัง         อ่านว่า  กฺรม-มะ-วัง

กลเม็ด        อ่านว่า   กน-ละ-เม็ด 

คุณค่า          อ่านว่า  คุน-นะ-ค่า

พระพุทธเจ้า   อ่านว่า  พฺระ-พุด-ทะ-เจ้า 

ทุนทรัพย์       อ่านว่า   ทุน-นะ-ซับ  (ทุน เป็นคำไทยแท้)

ผลไม้           อ่านว่า   ผน-ละ-ไม้   

พลขับ          อ่านว่า   พน-ละ-ขับ 

พลความ       อ่านว่า   พน-ละ-ความ 

พลร่ม           อ่านว่า   พน-ละ-ร่ม

พลเมือง        อ่านว่า   พน-ละ-เมือง 

พลเรือน        อ่านว่า   พน-ละ-เรือน   

สรรพสินค้า    อ่านว่า   สับ-พะ-สิน-ค้า

สรรพสิ่ง        อ่านว่า   สับ-พะ-สิ่ง

         ดังนั้น  จึงควรหันมาใส่ใจหลักการอ่านคำไทย  เพื่อเราจะอ่านคำไทยได้อย่างถูกต้องไม่อายใครอันเป็นการรักษ์ภาษาไทยให้เป็นเอกลักษณ์หนึ่งที่สำคัญตราตรึงไว้ในใจคนไทยทุกนะค่ะ  





ราชธานี คำหลัก


ราชธานี คำหลัก คือ ธานี อยู่ข้างหลัง (เป็นคำสมาส)



  1. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป

  2. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาสมาสกัน เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์ อรรถคดี ฯลฯ จะนำคำไทยหรือคำภาษาอื่นมาสมาสกับคำบาลี หรือสันสกฤตไม่ได้ ถือว่าไม่ใช่คำสมาส เช่น 

  3. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมีตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) เช่น 

  4. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น 

  5. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น สมณพราหมณ์ ไม่ใช่ สมณะพราหมณ์ / กาลเทศะ ไม่ใช่ กาละเทศะ) แต่บางคำก็ไม่ออกเสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ)

  6. คำว่า "วร" เมื่อสมาสกับคำอื่นแล้ว จะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ในภาษาไทย และจะแผลงเป็น "พระ" ก็ถือว่าเป็นคำสมาส เช่น

  7. การอ่านออกเสียงระหว่างคำ เมื่อจะอ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง ถ้าระหว่างคำไม่มีรูปสระ ให้อ่านเหมือนมีสระอะประสมอยู่ เช่น 

  8. คำที่มีคำเหล่านี้อยู่ด้วย มักจะเป็นคำสมาส คือ การ กร กรรม คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภาพ ลักษณ์ วิทยา ศาสตร์ ศึกษา ศิลป์
วรพักตร์เป็นพระพักตร์
วรเนตรเป็นพระเนตร

แต่ พระเก้าอี้ พระอู่ พระนอง ซึ่งมีคำพระอยู่ข้างหน้า แต่เก้าอี้ อู่ ขนอง ไม่ใช่คำบาลีและสันสกฤต คำราชาศัพท์เหล่านี้จึงไม่ใช่คำสมาส

สังเกตคำประเภทนี้โดยมากเป็นคำราชาศัพท์ เช่น พระบาท พระมัสสุ พระขรรค์ พระธิดา พระมารดา พระบิดา พระเศียร พระกรรณ พระหัตถ์ พระอนุชา พระเชษฐา
ราชธานี คำหลัก คือ ธานี อยู่ข้างหลัง (เป็นคำสมาส)
  1. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป

  2. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาสมาสกัน เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์ อรรถคดี ฯลฯ จะนำคำไทยหรือคำภาษาอื่นมาสมาสกับคำบาลี หรือสันสกฤตไม่ได้ ถือว่าไม่ใช่คำสมาส เช่น 

  3. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมีตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) เช่น 

  4. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น 

  5. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น สมณพราหมณ์ ไม่ใช่ สมณะพราหมณ์ / กาลเทศะ ไม่ใช่ กาละเทศะ) แต่บางคำก็ไม่ออกเสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ)

  6. คำว่า "วร" เมื่อสมาสกับคำอื่นแล้ว จะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ในภาษาไทย และจะแผลงเป็น "พระ" ก็ถือว่าเป็นคำสมาส เช่น

  7. การอ่านออกเสียงระหว่างคำ เมื่อจะอ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง ถ้าระหว่างคำไม่มีรูปสระ ให้อ่านเหมือนมีสระอะประสมอยู่ เช่น 

  8. คำที่มีคำเหล่านี้อยู่ด้วย มักจะเป็นคำสมาส คือ การ กร กรรม คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภาพ ลักษณ์ วิทยา ศาสตร์ ศึกษา ศิลป์
ประวัติศาสตร์อ่านว่าประ – หวัด – ติ – สาด
นิจศีลอ่านว่านิจ – จะ – สีน
ไทยธรรมอ่านว่าไทย – ยะ – ทำ
อุทกศาสตร์อ่านว่าอุ – ทก – กะ – สาด
อรรถรสอ่านว่าอัด – ถะ – รด
จุลสารอ่านว่าจุน – ละ – สาน
ราชธานี คำหลัก คือ ธานี อยู่ข้างหลัง (เป็นคำสมาส)
  1. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป
  2. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาสมาสกัน เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์ อรรถคดี ฯลฯ จะนำคำไทยหรือคำภาษาอื่นมาสมาสกับคำบาลี หรือสันสกฤตไม่ได้ ถือว่าไม่ใช่คำสมาส เช่น 
  3. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมีตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) เช่น 
  4. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น 
  5. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น สมณพราหมณ์ ไม่ใช่ สมณะพราหมณ์ / กาลเทศะ ไม่ใช่ กาละเทศะ) แต่บางคำก็ไม่ออกเสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ)
  6. คำว่า "วร" เมื่อสมาสกับคำอื่นแล้ว จะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ในภาษาไทย และจะแผลงเป็น "พระ" ก็ถือว่าเป็นคำสมาส เช่น
  7. การอ่านออกเสียงระหว่างคำ เมื่อจะอ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง ถ้าระหว่างคำไม่มีรูปสระ ให้อ่านเหมือนมีสระอะประสมอยู่ เช่น 
  8. คำที่มีคำเหล่านี้อยู่ด้วย มักจะเป็นคำสมาส คือ การ กร กรรม คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภาพ ลักษณ์ วิทยา ศาสตร์ ศึกษา ศิลป์