วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ราชธานี คำหลัก


ราชธานี คำหลัก คือ ธานี อยู่ข้างหลัง (เป็นคำสมาส)



  1. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป

  2. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาสมาสกัน เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์ อรรถคดี ฯลฯ จะนำคำไทยหรือคำภาษาอื่นมาสมาสกับคำบาลี หรือสันสกฤตไม่ได้ ถือว่าไม่ใช่คำสมาส เช่น 

  3. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมีตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) เช่น 

  4. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น 

  5. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น สมณพราหมณ์ ไม่ใช่ สมณะพราหมณ์ / กาลเทศะ ไม่ใช่ กาละเทศะ) แต่บางคำก็ไม่ออกเสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ)

  6. คำว่า "วร" เมื่อสมาสกับคำอื่นแล้ว จะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ในภาษาไทย และจะแผลงเป็น "พระ" ก็ถือว่าเป็นคำสมาส เช่น

  7. การอ่านออกเสียงระหว่างคำ เมื่อจะอ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง ถ้าระหว่างคำไม่มีรูปสระ ให้อ่านเหมือนมีสระอะประสมอยู่ เช่น 

  8. คำที่มีคำเหล่านี้อยู่ด้วย มักจะเป็นคำสมาส คือ การ กร กรรม คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภาพ ลักษณ์ วิทยา ศาสตร์ ศึกษา ศิลป์
วรพักตร์เป็นพระพักตร์
วรเนตรเป็นพระเนตร

แต่ พระเก้าอี้ พระอู่ พระนอง ซึ่งมีคำพระอยู่ข้างหน้า แต่เก้าอี้ อู่ ขนอง ไม่ใช่คำบาลีและสันสกฤต คำราชาศัพท์เหล่านี้จึงไม่ใช่คำสมาส

สังเกตคำประเภทนี้โดยมากเป็นคำราชาศัพท์ เช่น พระบาท พระมัสสุ พระขรรค์ พระธิดา พระมารดา พระบิดา พระเศียร พระกรรณ พระหัตถ์ พระอนุชา พระเชษฐา
ราชธานี คำหลัก คือ ธานี อยู่ข้างหลัง (เป็นคำสมาส)
  1. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป

  2. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาสมาสกัน เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์ อรรถคดี ฯลฯ จะนำคำไทยหรือคำภาษาอื่นมาสมาสกับคำบาลี หรือสันสกฤตไม่ได้ ถือว่าไม่ใช่คำสมาส เช่น 

  3. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมีตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) เช่น 

  4. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น 

  5. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น สมณพราหมณ์ ไม่ใช่ สมณะพราหมณ์ / กาลเทศะ ไม่ใช่ กาละเทศะ) แต่บางคำก็ไม่ออกเสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ)

  6. คำว่า "วร" เมื่อสมาสกับคำอื่นแล้ว จะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ในภาษาไทย และจะแผลงเป็น "พระ" ก็ถือว่าเป็นคำสมาส เช่น

  7. การอ่านออกเสียงระหว่างคำ เมื่อจะอ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง ถ้าระหว่างคำไม่มีรูปสระ ให้อ่านเหมือนมีสระอะประสมอยู่ เช่น 

  8. คำที่มีคำเหล่านี้อยู่ด้วย มักจะเป็นคำสมาส คือ การ กร กรรม คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภาพ ลักษณ์ วิทยา ศาสตร์ ศึกษา ศิลป์
ประวัติศาสตร์อ่านว่าประ – หวัด – ติ – สาด
นิจศีลอ่านว่านิจ – จะ – สีน
ไทยธรรมอ่านว่าไทย – ยะ – ทำ
อุทกศาสตร์อ่านว่าอุ – ทก – กะ – สาด
อรรถรสอ่านว่าอัด – ถะ – รด
จุลสารอ่านว่าจุน – ละ – สาน
ราชธานี คำหลัก คือ ธานี อยู่ข้างหลัง (เป็นคำสมาส)
  1. เกิดจากคำมูลตั้งแต่สองคำขึ้นไป
  2. เป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต มาสมาสกัน เช่น กาฬพักตร์ ภูมิศาสตร์ ราชธรรม บุตรทาน อักษรศาสตร์ อรรถคดี ฯลฯ จะนำคำไทยหรือคำภาษาอื่นมาสมาสกับคำบาลี หรือสันสกฤตไม่ได้ ถือว่าไม่ใช่คำสมาส เช่น 
  3. พยางค์สุดท้ายของคำหน้า หากมีสระ อะ หรือมีตัวการันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก (ยกเว้นคำบางคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) เช่น 
  4. แปลความจากหลังมาหน้า เช่น 
  5. ส่วนมากออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหน้า แม้จะไม่มีรูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ (เช่น สมณพราหมณ์ ไม่ใช่ สมณะพราหมณ์ / กาลเทศะ ไม่ใช่ กาละเทศะ) แต่บางคำก็ไม่ออกเสียง (เช่น สมัยนิยม สมุทรปราการ)
  6. คำว่า "วร" เมื่อสมาสกับคำอื่นแล้ว จะนำมาใช้เป็นคำราชาศัพท์ในภาษาไทย และจะแผลงเป็น "พระ" ก็ถือว่าเป็นคำสมาส เช่น
  7. การอ่านออกเสียงระหว่างคำ เมื่อจะอ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง ถ้าระหว่างคำไม่มีรูปสระ ให้อ่านเหมือนมีสระอะประสมอยู่ เช่น 
  8. คำที่มีคำเหล่านี้อยู่ด้วย มักจะเป็นคำสมาส คือ การ กร กรรม คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภาพ ลักษณ์ วิทยา ศาสตร์ ศึกษา ศิลป์ 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น